{{ timestring }}
adiDUST by adiCET
adiDUST ระบบเฝ้าระวังและแจ้งเตือนคุณภาพอากาศแบบ Real-Time
พัฒนาโดย adiCET มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
กำลังเตรียมข้อมูล
สถานีเครื่องวัด
PM2.5(µg/m3)
{{device.name}} {{ getLatestData(device.id,'pm25') }}
PM2.5
{{ selectedDevicePm25 }}
µg/m3
AQI
{{ getLatestData(selectedDevice.id,'aqi') }}
PM1.0 = {{ getLatestData(selectedDevice.id,'pm1') }} µg/m3     PM10 = {{ getLatestData(selectedDevice.id,'pm10') }} µg/m3
{{selectedDevice.name}}
{{ getLabelFromPm25(selectedDevicePm25) }}

ค่าปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กเฉลี่ยรายวันของสถานีเครื่องวัด : {{ selectedDevice.name }}

วันที่ PM2.5 PM1 PM10 AQI อุณหภูมิ ความชื้น คุณภาพอากาศ
{{ d(data.created_at) }} {{ data.pm25 }} {{ data.pm1 }} {{ data.pm10 }} {{ data.aqi }} {{ data.temp }} {{ data.humid }} {{ getLabelFromPm25(data.pm25) }}

สถานีวัดสภาพอากาศ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ :
ศูนย์เวียงบัว
ศูนย์แม่ริม

ค่าความเร็วลม
m/s
ทิศทางลม
°N
อุณหภูมิอากาศ
°C
ความชื้นสัมพัทธ์
%RH
ปริมาณน้ำฝน
mm
PM2.5 24 ชม.
(มคก./ลบ.ม.)
ประชาชนทั่วไป
ประชาชนในกลุ่มเสี่ยง
ดีมาก
0-15.0
ประชาชนทุกคนใช้ชีวิตได้ตามปกติ
ดี
15.1-25.0
สามารถทำกิจกรรมกลางแจ้งได้ตามปกติ
ควรสังเกตอาการผิดปกติ เช่น ไอบ่อย หายใจลำบาก หายใจถี่ หายใจไม่ออก หากใจมีเสียงวี้ด แน่นหน้าอก เจ็บหน้าอก ใจสั่ง คลื่นไส้ เมื่อยล้าผิดปกติ หรือวิงเวียนศรีษะ
ปานกลาง
25.1-37.5
ลดระยะเวลาทำกิจกรรมหรือออกกำลังกายกลางแจ้งที่ใช้แรงมาก
  • ใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเอง เช่น หน้ากากป้องกันฝุ่น PM2.5 ทุกครั้งที่ออกนอกอาคาร
  • ลดระยะเวลาทำกิจกรรมหรือการออกกำลังกลางแจ้งที่ใช้แรงมาก
  • หากมีอาการผิดปกติให้รีบปรึกษาแพทย์
เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ
37.6-75.0
  • ใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเอง เช่น หน้ากากป้องกันฝุ่น PM2.5 ทุกครั้งที่ออกนอกอาคาร
  • จำกัดระยะเวลาทำกิจกรรมหรือการออกกำลังกลางแจ้งที่ใช้แรงมาก
  • ควรสังเกตอาการผิดปกติ เช่น ไอ หายใจลำบาก ระคายเคืองตา
  • ใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเอง เช่น หน้ากากป้องกันฝุ่น PM2.5 ทุกครั้งที่ออกนอกอาคาร
  • เลี่ยงการทำกิจกรรมหรือการออกกำลังกลางแจ้งที่ใช้แรงมาก
  • ให้ปฏืบัติตามคำแนะนำของแพทย์ หากมีอาการผิดปกติให้รีบไปพบแพทย์
มีผลกระทบต่อสุขภาพ
75.1 เป็นต้นไป
  • งดกิจกรรมกลางแจ้ง
  • หากมีความจำเป็นต้องทำกิจกรรมกลางแจ้ง ให้ใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเองทุกครั้ง เช่น หน้ากากป้องกัน PM2.5
หมายเหตุ : ค่าดัชนีคุณภาพอากาศ อ้างอิงจาก กองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง กรมควบคุมมลพิษ
  1. กลุ่มเสี่ยง ได้แก่ เด็ก วัยรุ่น ผู้สูงอายุ สตรีมีครรภ์ ผู้ที่มีโรคระบบทางเดินหายใจ โรคหัวใจ และโรคหลอดเลือดแดง
  2. ค่าดัชนี 500 ถือว่าเกินกว่าที่ระบบจะรายงานได้